ปิโตรเลียม


ใส่ความเห็น

ปิโตรเลียม

– ปิโตรเลียมเกิดจากการทับถมและสลายตัวของอินทรียสารจากพืชและสัตว์

เวลา + ความดัน + ความร้อนสูง + ปริมาณออกซิเจนจำกั

สลายตัวได้

แก๊สธรรมชาติและน้ำมันดิบแทรกอยู่ระหว่างชั้นหินที่มีรูพรุน

การสำรวจปิโตรเลียม

ผลการสำรวจ
• ผลการสำรวจเป็นข้อมูลเบื้องต้นเพื่อการขุดเจาะ
• การขุดเจาะต้องวิเคราะห์ความคุ้มค่า
• หากความดันสูงปิโตรเลียมจะไหลออกมาเอง
• หากความดันต่ำต้องเพิ่มแรงดันจากภายนอก

การกลั่นน้ำมันดิบ

ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม สมบัติ และการใช้ประโยชน์

ผลิตภัณฑ์ที่ได้
จุดเดือด (OC)
สถานะ
จำนวน C
การใช้ประโยชน์
แก๊สปิโตรเลียม
< 30
แก๊ส
1 – 4
ทำสารเคมี วัสดุสังเคราะห์ เชื้อเพลิงแก๊สหุงต้ม
แนฟทาเบา
30 – 110
ของเหลว
5 – 7
น้ำมันเบนซิน ตัวทำละลาย
แนฟทาหนัก
65 – 170
ของเหลว
6 – 12
น้ำมันเบนซิน แนฟทาหนัก
น้ำมันก๊าด
170 – 250
ของเหลว
10 – 19
น้ำมันก๊าด เชื้อเพลิงเครื่องยนต์ไอพ่น และตะเกียง
น้ำมันดีเซล
250 – 340
ของเหลว
14– 19
เชื้อเพลิงเครื่องยนต์ดีเซล
น้ำมันหล่อลื่น
> 350
ของเหลว
19 – 35
น้ำมันหล่อลื่น น้ำมันเครื่อง
ไข
> 500
ของแข็ง
> 35
ใช้ทำเทียนไข เครื่องสำอาง ยาขัดมัน ผลิตผงซักฟอก
น้ำมันเตา
> 500
ของเหลวหนืด
> 35
เชื้อเพลิงเครื่องจักร
ยางมะตอย
> 500
ของเหลวหนืด
> 35
ยางมะตอย เป็นของแข็งที่อ่อนตัวและเหนียวหนืดเมื่อถูกความร้อน ใช้เป็นวัสดุกันซึม

การปรับปรุงโครงสร้างของโมเลกุล

1. กระบวนการแตกสลาย

2. กระบวนการรีฟอร์มมิง

3. กระบวนการแอลคิเลชัน

4. กระบวนการโอลิโกเมอไรเซชัน

เลขออกเทน

• ไอโซออกเทน เป็นเชื้อเพลิงที่เหมาะสมกับเครื่องยนต์ที่ใช้น้ำมันเบนซีน การระเบิดและจังหวะในกระบอกสูบเหมาะสม
• เลขออก เทน เป็นตัวกำหนดคุณภาพน้ำมัน โดย น้ำมันเบนซีนที่มีสมบัติการเผาไหม้เช่นเดียวกับไอโวออกเทนมีเลขออกเทนเป็น 100 ส่วนน้ำมันเบนซีนที่มีสมบัตืในการเผาไหม้เชนเดียวกับเฮปเทนโซ่ตรงมีเลขออกเท นเป็น 0
• ออกเทนเท่ากับ 95 มีสมบัติในการเผาไหม้เช่นเดียวกับเชื้อเพลิงที่ได้จากการผสมไอโซออกเทนร้อยละ 95 กับเฮปเทนร้อยละ 5

การเพิ่มค่าออกเทน
¢- เติมสาร

เลขซีเทน
• เป็นตัวบอกคุณภาพของน้ำมันดีเซล
• กำหนด ซีเทน มีเลขซีเทนเท่ากับ 100 แอลฟาเมทิลแนฟทาลีนมีเลขซีเทนเท่ากับ 0